รับยื่นภาษีร้านค้าออนไลน์

data-befor-registQuick

Stamp-Free-quickcoth

รับยื่นภาษีร้านค้าออนไลน์

ต้องมีการลงทะเบียนรายงานรายได้ด้วย แม้บางรายมีรายได้ไม่ถึงเกณฑ์ แต่ก็ต้องยื่นแสดงรายได้ต่อกรมสรรพากร เพราะถือว่าเป็นผู้ที่มีรายได้ ส่วนในรายที่มีรายได้เกินกว่าเกณฑ์ก็จะต้องเสียภาษี และตามพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 กำหนดให้ผู้ประกอบการต้องทำการจดทะเบียนกับทางสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค หรือ สคบ. ก่อนที่จะเริ่มประกอบการด้วย เนื่องจากหากมีการร้องเรียนเกิดขึ้น เมื่อผู้บริโภคไม่ได้รับความเป็นธรรม ไม่ว่าจะเป็นการสั่งสินค้าแล้วไม่ส่งให้ หรือสินค้าที่ได้รับไม่ได้มาตรฐาน และสินค้าชำรุดเสียหาย จะได้มีการตรวจสอบและติดตามผู้ประกอบการได้ รับยื่นภาษีร้านค้าออนไลน์ หากร้านค้าออนไลน์ฝ่าฝืน ไม่ไปขอจดทะเบียนประกอบธุรกิจขายตรงกับทาง สคบ. ตามมาตรา 47 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และปรับอีกวันละไม่เกิน 10,000 บาท ตลอดเวลาที่ยังฝ่าฝืนอยู่ นอกจากนี้ ผู้ประกอบการจะต้องมาจดทะเบียนพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ เพื่อออกเครื่องหมายการจดทะเบียนให้กับผู้ประกอบการ หากฝ่าฝืนตามพระราชบัญญัติทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ด้วย

การวางแผนก่อน จดทะเบียนบริษัทปี2561

การวางแผนให้ดีก่อน จดทะเบียนบริษัทปี2561 และหุ้นส่วนจำกัด ด้านการจัดตั้งธุรกิจ จดทะเบียนบริษัทปี2561 จดทะเบียนบริษัทปีจอ เริ่มต้นธุรกิจปี2561 จดทะเบียนบริษัททั่วไทย เปิดบริษัทปี2561 จดทะเบียนบริษัทปี2561 รับเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชี ภาษี ตรวจสอบภายใน ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์พร้อมด้วยบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ราคาเป็นธรรมและซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา
  • 1. ชื่อบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทั้งภาษาไทย และ ภาษาอังกฤษ เพราะชื่อที่คิดจะต้องส่งมาจองก่อน ชื่อห้ามซ้ำกับนิติบุคคลที่มีอยู่ก่อนแล้ว  line-Quick222-botton คลิ๊กแอดไลน์เพื่อส่งข้อมูลมาจองชื่อ
  • 2. ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนคือเงินของผู้ถือหุ้นทุกคนที่จะลงทุน เริ่มต้นทำธุรกิจ ส่วนใหญ่จะระบุไว้ที่ 1 ล้านบาท เพราะค่าธรรมเนียมไม่ว่าจะจดทะเบียน ทุน 1 แสน , 2 แสน หรือ 1 ล้าน ค่าธรรมเนียมจะเท่ากัน ที่จดกัน 1 ล้าน เพราะต้องการให้บริษัทดูดีมีความน่าเชื่อถือ และถ้าจดในรูปแบบบริษัทจะดีตรงที่ ถ้าเราระบุ ทุน 1 ล้าน บาท เราไม่จำเป็นต้องมีเงินถึง 1 ล้านจริงๆ ก็ได้ มีแค่ 25 % ก้อได้ และถ้าจะถามต่อไปอีกว่า ถ้าไม่มี 25 % หรือ 250,000 บาท จริงๆ จะดำเนินการจดบริษัทได้ไหม ก็ตอบว่าได้ครับ ตรงนี้อาจโทรมาปรึกษา QuickAccounting ได้ tel-botton-Quick คลิ๊กโทร
  • 3. การแบ่งสัดส่วน หุ้น จะอธิบายแบบทั่ว ๆ ไป ที่ส่วนใหญ่ทำกัน คือการลงทุนด้วยเงินนะครับ จด หจก. เริ่มต้นก่อตั้งใช้คน 2 คน ให้คิดเป็น % เช่น นาย ก. ถือ 70 % นาย ข. ถือ 30% รวมกัน 2 คน ให้ได้ 100 % QuickAccounting จะคำนวณจากทุนจดทะเบียนออกมาเป็นจำนวนเงินให้ครับ จดบริษัท เริ่มต้น ก่อตั้งใช้ คน 3 คน ให้คิดออกมาเป็น % เช่น นาย ก. คือ 50 % นาย ข. คือ 30 % นาย ค. 20 % รวม 3 คน ได้ 100 % QuickAccounting จะมาแปลงเป็นจำนวนหุ้น และตีออกมาเป็นจำนวนเงินให้ครับ สิ่งสำคัญ การจะแบ่งหุ้นให้ใครต้องคิดให้ดี ๆ นะครับ แบ่งให้แล้วเอาคืนมายาก ถ้าเกิดร่วมงานกันแล้วมีปัญหาภายหลัง ยกเว้นถ้าลงเงินกันจริงๆ ก็ต้องแบ่งไปตามสัดส่วนที่ลงทุนกันจริงๆ แต่ถ้าคิดจะให้ด้วย แค่เอาชื่อมาประกอบ QuickAccounting แนะนำ แบ่งให้แค่คนละ 1 % ก็พอครับ เพราะต่อไปเวลาราจะไปทำเรื่องเปิดบัญชีเงินฝากที่ธนาคารในนามบริษัท จะได้ไม่วุ่นวายปวดหัว ที่จะต้องพาหุ้นส่วนไปเปิดบัญชีด้วย เพราะถ้าใครถือหุ้นตั้งแต่ 20 % จะต้องไปทำเรื่องเปิดบัญชีด้วย คงไม่สะดวกที่จะต้องลางานบ่อย ๆ
  • 4. อำนาจกรรมการ การเขียน อำนาจกรรมการส่วนใหญ่จะเขียน ดังนี้ 1. ระบุชื่อกรรมการไปเลย 2. ถ้ามีกรรมการตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป - กรรมการหนึ่งคนลงลายมือชื่อและประทับตราสำคัญ - กรรมการสองคนลงลายมือชื่อร่วมกันและประทับตราสำคัญ - นาย ก. ลงลายมือชื่อ ร่วมกับ นาย ข. หรือ นาย ค. และประทับตราสำคัญ สิ่งสำคัญ ใครที่ไม่มีอำนาจในการบริหารหรือตัดสินใจ ไม่ควรเอาชื่อมาใส่เป็นกรรมการ
  • 5. การเขียนวัตถุประสงค์ ปรกติทางบริษัทจะมีวัตถุประสงค์ทั่วๆ ไป คือ แบบ ว.1 งานด้านค้าขาย และ แบบ ว.2 งานด้านบริการ ซึ่งรวมกันแล้วประมาณ 35 ข้อ ที่เหลือให้ทางลูกค้าระบุข้อที่เราทำเป็นงานหลัก ๆ โดยใส่ได้ไม่จำกัด แต่ข้อที่เราทำมากที่สุด หลักๆให้ใส่มาเป็นอันดับที่ 1 และ 2 ข้อที่ทำน้อยหรือนานๆ จะทำให้ใส่เป็น ข้อ 3,4,5,6....ต่อไป เพราะเรื่องวัตถุประสงค์จะมีผลในเรื่องของงานจัดทำบัญชีและยื่นจดภาษีมูลค่าเพิ่มต่อไป
หมายเหตุ : สุดท้ายข้อมูลต่างๆ สำคัญทุกข้อทางบริษัท แนะนำว่าควรโทรมาคุยปรึกษา QuickAccounting จะดีที่สุด tel-botton-Quick

ส่งชื่อบริษัท / หจก.  และแจ้งวัตถุประสงค์หลักๆ ให้ทีมงานออกแบบ --->>> คลิ๊กเพื่อส่ง

tel-icon